วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lecture Note

 Types of Information Sources
Magazine             นิตยสาร คือ สิ่งพิมพ์ที่ออกเป็นประจำ มีกำหนดแน่นอน เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์
รายเดือน รายไตรมาส รายหกเดือน รายปี เป็นข้อมูลที่นิยมในตอนนั้นๆ
Articles                 บทความที่อยู่ในนิตยสาร 2-3 หน้า โดยทั่วไปเขียนโดยนักวารสาร
Journals             วารสารวิชาการ..เป็นสิ่งพิมพ์ที่คล้ายกับนิตยสารจะมีกำหนดออกที่แน่นอน เขียนโดยนักวิชาการ (อาจารย์ หรือบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญแต่ละสาขาวิชา) กระบวนการในการตีพิมพ์จะยุ่งยากกกว่านิตยสาร วารสารนี้จะเจาะจงไปที่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง วารสารนี้ไม่ได้อยู่ในรูปแบบกระดาษอย่างเดียว ยังอยู่ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย
          -จะใช้เวลาทำรายงาน ข้อมูลจากวารสารนี้จะน่าเชื่อถือสูงกว่าแม๊กกาซีน
           -จะเน้นไปที่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น เรื่องการคมนาคม
           -ไม่มีคำนำ เราจะเรียกว่า บทบรรณาธิการ
Peer reviewed.                 ผ่านการพิจารณาแล้ว
Periodicals                        สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
Serials                               สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
Volume(V/Vol.)                 ปีที่
Number (No.)                   ฉบับที่
Newspapers                    ขนาดจะต่างกับนิตยสาร จะออกรายเป็นรายวันแล้วก็จะอัพเดทกว่า หนังสือพิมพ์           แบ่งเป็นหลายระดับหลายประเภท (ระดับท้องถิ่น,ระดับชาติ,ระดับนานาชาติ)
-ให้เหตุการณ์ที่เป็นปัจจุบัน
-จะไม่ได้อยู่ในรูปของกระดาษอย่างเดียว
 Microform          วัสดุย่อส่วน จะเก็บข้อมูลไว้ในสมุดขนาดเล็ก หากอยากจะดูข้อมูลจริงๆให้ไปที่หอสมุดแห่งชาติซึ่งจะจัดเก็บหนังสือพิมพ์ไว้
                                -ไมโครฟิล์ม
                                -ไมโครฟิช
                                -ไมโครการ์ด
 Encyclopedias    สารานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิงชนิดหนึ่ง (อ,Ref:Reference) ซึ่งให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความเป็นมาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยสังเขป แบ่งออกเป็น
                                -ทั่วไป ให้ความรู้ครอบคลุมในหลายๆเรื่อง เช่น Americana ,สารานุกรมไทย
                                -เฉพาะวิชา เช่น ด้านวัฒนธรรม,ด้านพืชสมุนไพร


















วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lecture 16/12/10

BOOKS
                ส่วนประกอบของหนังสือ
                Author                      ผู้แต่ง
                Publisher and Pace of Publication    สำนักพิมพ์
                Title       ชื่อเรื่อง,หน้าชื่อเรื่อง
                Copyright     หน้าลิขสิทธิ์ (ข้อมูลหน้านี้สำคัญมาก)
                Contents     สารบัญ
Glossary    อภิธานศัพท์ การอธิบายศัพท์ในหนังสือเล่มนั้นๆ หากสงสัยคำไหนก็สามารถเปิดได้   โดยไม่ต้องใช้พจนานุกรม
Index      ดัชนี เป็นส่วนที่คล้ายกับสารบัญ
                  ดัชนีให้คำหรือหัวข้อเรื่อง ท้ายคำจะมีตัวเลข (หน้า)
                 ประโยชน์  ใช้ค้นหาในหนังสืออย่างละเอียด

การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้ Dewey Decimal
คนคิดชื่อ.. Melville Dewey
                000         ความรู้ทั่วไป  (รวมถึงวิชานี้ด้วย)
                100         ปรัชญา จิตวิทยา คุณค่ามนุษย์
                200         ศาสนาต่างๆ
                300         สังคม หน้าที่การเมือง ประชากร เศรษฐกิจ
                400         ภาษาต่างๆ
                500         วิทยาศาสตร์บริสุทธ์ ( ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ฯลฯ)
                600         วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (การเอาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์มาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยี)
                700         กีฬา-นันทนาการ
                800         วรรณกรรม วรรณคดี การเขียน
                900         ประวัติศาสตร์ (สถานที่ , บุคคล)
ระบบดิวอี้     จะจัดกับห้องสมุดขนาดเล็ก
                ระบบรัฐสภาอเมริกัน     จะจัดกับห้องสมุดขนาดใหญ่




เลขเรียกหนังสือ Call Number

                001.9    เลขหมวดหมู่
                McD     เลขผู้แต่ง  มี 2 อย่างคือ
                                Mc  อักษรตัวแรกของชื่อผู้แต่ง
                                D     อักษรตัวแรกของชื่อหนังสือ
                                               
*เลขเรียกหนังสือมีไว้เพื่อจัดเก็บและค้นหาหนังสือในห้องสมุด

OPAC (Online Public Access Catalogs)
-ใช้ค้นหาทรัพยากรในห้องสมุดเท่านั้น
* ทรัพยากร (หนังสือ,วารสาร,หนังสือพิมพ์,หนังสืออ้างอิง,แผ่นซีดี,เทปโทรทัศน์)
Web OPAC/WebPAC ใช้ค้นหาหนังสือในห้องสมุดผ่านเน็ต
-                  ISBN  เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ Books
-                  ISSN  เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร Serial

วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lecture : ]

Lecture
วันที่ 9/12/2010
        หมวดหมู่หนังสือในห้องสมุด มทร.อีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
                หมวด 100 ธรรมะ ศาสนา
                หมวด 200 ปรัชญา
                หมวด 300 สังคม
            หมวด 400 ภาษา
หมวด 500 ฟิสิกส์ เคมี
หมวด 600 ทุกหมวดหมู่ (สาขา)
หมวด 700 นันทนาการ
หมวด 800 วรรณคดี
หมวด 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์

OPAC คือ เครื่องมือการสืบค้นข้อมูล
วารสาร คือ  เป็นสื่อมวลชนที่ให้ทั้งข่าวสาร ความรู้ความ คิดความบันเทิงในช่วงเวลาหนึ่งได้และยังช่วยกระตุ้นเปลี่ยนแปลงการพัฒนาต่างๆได้อีก ซึ่งอยู่ในรูปของการเสนอทางวิชาการ ข่าว ภาพ ความคิดเห็น บทวิจารณ์ อย่างหลากหลาย จึงมีคุณค่าต่อการศึกษาสูง ผู้ใช้วารสารควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความหมายลักษณะ วิธีการนำเสนอเนื้อหา แนวทางการใช้ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ทางการศึกษาจากวารสารและนิตยาสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วารสารและนิตยาสาร จัดอยู่ในสิ่งพิมพ์ประเภทออกตามรายคาบหรือออกต่อเนื่องตามลำดับ เนื่องจากสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้งในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บางคำมีความหมายกว้างๆใช้แทนกันได้ แต่บางคำมีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอย่าง จนไม่อาจใช้แทนคำอื่นได้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในที่นี่จึงขอใช้คำว่า "วารสาร" เป็นคำแรก แทนสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ทั้งหมด 



วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Lecture 2/12/10

            ที่มาของการทำโปรเจ็ค
                        -อาจารย์ผู้สอน
                        -นักศึกษา
            เงื่อนไข
                        -เนื้อหาไม่น้อยกว่า 10 แผ่น (A4)
                        -มีข้อมูลจากหนังสือ วารสาร และเว็บไซต์
            ข้อควรคำนึงในการเลือกหัวข้อ
                        -ไม่กว้างไม่แคบจนเกินไป เหมาะสมกับปริมาณเนื้อหาและระยะ
เวลาในการทำ
                        -มีแหล่งข้อมูลเพียงพอ
                        -จะต้องได้แรงบันดาลใจจากภาพยนตร์ที่ชมไป
                        -ต้องไม่ซ้ำกัน



ข้อคิดที่ได้จากการชมภาพยนตร์ : ]

ข้อคิดที่ได้จากการชมภาพยนตร์ : ]

1.Credit Card รูด จะได้ไม่ต้องมี DIScredit Card เพิ่มอีกใบ
2.อย่าแก้ไข้ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยชั่ววูบโดยไม่คำนึงถึงปัญหาที่จะตามมาในภายหลัง
3.หากใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยมากๆก็จะไม่มีใช้ในอนาคตข้างหน้า
4.ถึงจะมีความสุขกับการใช้เงินในตอนแรก แต่สุดท้ายก็ต้องมานั่งทุกข์อยู่ดี
5.ความอยากของคนเราสามารถเอาชนะทุกสิ่ง แม้จะรู้ดีว่าบางสิ่งมันก็ไม่จำเป็นสำหรับเรา
6.เมื่อมีปัญหาก็ควรปรึกษากับบุคคลอื่น ไม่ใช่คิดไปเองคนเดียว
7.หากรู้จักปล่อยวางไม่ติดยี่ห้อจนเกินไป ชีวิตก็จะมีความสุขมากขึ้น
8.มิตรภาพระหว่างครอบครัวและเพื่อน หรือแม้กระทั่งคนรัก เป็นสิ่งที่ยิ่งใหญ่
9.ควรพูดความจริง ไมใช่ปิดบังไปซะทุกเรื่อง แล้วก็มานั่งทุกข์ใจทีหลังที่ไม่ได้พูดความจริงออกไป
10.หากไม่จำเป็น ไม่มีบัตรเครดิตเลยจะดีซะกว่า